ช้อมูลทั่วไป

ชื่อภาษาไทย เมทิลีนคลอไรด์
ชื่อภาษาอังกฤษ Methylene chloride
ชื่อทางการค้า
ประเภทสารเคมี 6.1 สารพิษ
Cas no. 75-09-2
UN Number 1593
Formula CH2 Cl2
จุดเดือด 40 ํC องศาเซลเซียส
จุดหลอมละลาย -95.1 ํC องศาเซลเซียส
AEGL1 200
AEGL2 560
AEGL3 6900
NFPA
1 2 0

ความอันตราย

กลุ่มสารเคมี สารตัวทำละลายฮาโลเจน
Polimerization ไม่เป็น Polimerization
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) ไม่เป็น
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ
อัคคีภัยหรือการระเบิด 1.สารบางชนิดอาจลุกไหม้ แต่ไม่มีชนิดใดที่ลุกไหม้ได้ทันที
2.ส่วนใหญ่ไอระเหยสารหนักกว่าอากาศภาชนะบรรจุอาจระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน
3.ส่วนผสมระหว่างอากาศและไอระเหยสารอาจระเบิดเมื่อถูกจุด
4.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน
ผลต่อสุขภาพ 1.เป็นพิษจากการกิน : ไอระเหยสารอาจทำให้เวียนศีรษะและหายใจไม่ออก
2.การได้รับสารเมื่ออยู่ในที่อับอากาศเกิดอันตรายมาก
3.การสัมผัสกับสารอาจทำผิวหนังและดวงตาระคายเคืองและเป็นแผลไหม้
4.เพลิงไหม้อาจทำให้เกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ
5.น้ำเสียจาการดับเพลิงหรือที่ใช้เจือจางสาร อาจก่อมลพิษ

การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น

คำแนะนำเบื้องต้น 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้ง
2.กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันที่อย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ถ้าเป็นของเหลว และอย่างน้อย 25 เมตร(75 ฟุต) ถ้าเป็นของแข๊ง ทุกทิศทาง
3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่
4.อยู่เหนือลม
5.ห้ามอยู่ในที่ต่ำ
6. ระบายอากาศพื้นที่อับอากาศก่อนเข้าระงับเหตุ
7.ก๊าซหลายชนิดจะหนักกว่าอากาศและจะแพร่กระจายไปตามพื้น สะสมตัวในที่ต่ำหรือที่อับอากาศ (ท่อระบายน้ำ ห้องใต้ดิน ถังเก็บ)
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง 50
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว 50
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง 25

ชุดป้องกัน

คำแนะนำ 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.สวมชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีตามข้อแนะนำของบริษัทผู้ผลิต ทั้งนี้ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีไม่สามารถป้องกันอันตรายจากความร้อนสูง
3.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล
ข้อควรระวัง
Type

การอพยพ

การรั่วไหลขนาดเล็ก

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) 0

การรั่วไหลขนาดใหญ่

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) 0

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 800
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร 800
คำแนะนำ

การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ
เพลิงไฟขนาดเล็ก 1.ผงเคมีแห้ง CO2 ทราย น้ำฉีดเป็นฝอย
เพลิงไฟขนาดใหญ่ 1.ผงเคมีแห้ง CO2 โฟมดับเพลิงชนิดมีขั้วหรือน้ำฉีดเป็นฝอย
2.เคลื่อนย้ายวัสดุที่ติดไฟได้ออกจากแนวการไหลของสาร หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
3.สร้างคันกั้นหรือร่องกักน้ำเสียจากการดับเพลิงเพื่อนำไปกำจัดภายหลัง ห้ามทำให้สารกระจาย
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง 1. ฉีดน้ำดับเพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมรหรือใช้แท่นฉีดน้ำแทน
2.ฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุด้วยน้ำปริมาณมาก จนกว่าเพลิงจะสงบ
5. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี
2. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า

กรณีเกิดการหกรั่วไหล

วิธีการเข้าระงับเหตุ 1..กำจัดแหล่งที่อาจทำให้เกิดการจุดไฟทั้งหมด (ห้ามสูบบุหรี่ จุดพลุ ทำให้เกิดประกายไฟหรือเปลวไฟบริเวณจุดเกิดเหตุ)
2. ระงับการรั่วไหลของสาร หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย 1.ดูดซับด้วยทราย ดิน หรือวัสดุชนิดอื่นที่ไม่ติดไฟ
หกรั่วไหลปริมาณมาก 1.สร้างคันกั้นหรือขุดร่องกักน้ำเสียจากการดับเพลิงเพื่อนำไปกำจัดภายหลัง
2.ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ

การปฐมพยาบาล

คำแนะนำ 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่ปลอดภัย ไกลจากบุคคลอื่น
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669
3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ
4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก
5. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน
5. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที
6.หากผิวหนังสัมผัสกับสารเล็กน้อย ต้องหลีกเลี่ยงมิให้สารแพร่กระจายสัมผัสผิวหนังบริเวณอื่น ๆ
7.ล้างผิวด้วยสบู่และน้ำ
8. รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ
9. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่าง

มาตรการกำจัดของเสีย

ห้ามปล่อยสารนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม ทําการดูดระบายอากาศเก็บรวบรวมสารที่เป็นของเหลวที่หกออกมา ใส่ในภาชนะที่ปิดสนิทให้มากที่สุด ใช้ทรายหรือสารดูดซับเฉื่อยโรย ที่ของเหลวที่เหลือแล้วนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย

การทำปฏิกิริยา การระเบิด

สารนี้ทําปฏิกิริยา อย่างรุนแรงกับโลหะเช่น ผงอะลูมิเนียม ผงแมกนีเซียม ด่างแก่และสารออกซิไดซ์อย่างแรง ทําให้เกิดไฟไหม้และการระเบิด

ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน

ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์

สารนี้เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ควรให้ความสนใจเกี่ยวกับการปนเปื้อนแหล่งน้ําเป็นพิเศษ

มาตรการป้องกัน

เก็บแยกจากโลหะก็บในที่เย็น มีการระบายอากาศตามแนวพื้น

ข้อมูลเพิ่มเติม

Version: 1.0.190 BETA