ช้อมูลทั่วไป

ชื่อภาษาไทย
ชื่อภาษาอังกฤษ Bromine trifluoride
ชื่อทางการค้า
ประเภทสารเคมี 5.1 สารออกซิไดส์
Cas no. 7787-71-5
UN Number 1746
Formula
จุดเดือด 0 องศาเซลเซียส
จุดหลอมละลาย 0 องศาเซลเซียส
AEGL1 0.12
AEGL2 2
AEGL3 21
NFPA
0 4 3

ความอันตราย

กลุ่มสารเคมี สารออกซิไดซ์ (ทำปฏิกิริยากับน้ำ)
Polimerization ไม่เป็น Polimerization
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) เป็น
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ
อัคคีภัยหรือการระเบิด 1.อาจทำให้วัสดุที่ลุกติดไฟได้ เช่น ไม้ กระดาษ น้ำมัน ผ้า ฯ ลุกติดไฟ
2.ทำปฏิกิริยารุนแรงหรือระเบิดได้ เมื่อสัมผัสกับน้ำ
3.ทำให้เกิดสารที่เป็นพิษ และ/หรือ กัดกร่อน เมื่อสัมผัสกับน้ำ
4.ก๊าวที่ไวไฟ/เป็นพิษ อาจสะสมอยู่ในที่อับอากาศ เช่น ชั้นใต้ดิน ถังเก็บรถขนถ่าย/รถขนส่ง ฯ
5.สารบางชนิดทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนซึ่งไวไฟ เมื่อสัมผัสกับโลหะ
6.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน
7.น้ำเสียจากพื้นที่เกิดเหตุอาจทำให้เกิดเพลิงไหม้หรือการระเบิด
ผลต่อสุขภาพ 1.เป็นพิษ : การสูดดม กิน หรือสัมผัส (ผิวหนัง ดวงตา) กับไอระเหย ตัวสาร หรือก๊าซที่เกิดจากการสลายตัวของสาร อาจเกิดอาการบาดเจ็บรุนแรงหรือเสียชีวิต
2.หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ
3.น้ำเสียจากการดับเพลิงหรือน้ำที่ใช้เจือจางสาร อาจก่อมลพิษ

การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น

คำแนะนำเบื้องต้น 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้ง
2.เพื่อเป็นมาตรการป้องกันเหตุฉุกเฉินเบื้องต้น กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันทีทุกทิศทางอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ถ้าเป็นของเหลว และอย่างน้อย 25 เมตร (75 ฟุต) ถ้าเป็นของแข็ง
3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่
4.อยู่เหนือลม
5.ห้ามอยู่ในที่ต่ำ
6. ระบายอากาศพื้นที่อับอากาศก่อนเข้าระงับเหตุ
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง 50
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว 50
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง 25

ชุดป้องกัน

คำแนะนำ 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.สวมชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีตามข้อแนะนำของบริษัทผู้ผลิต ทั้งนี้ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีไม่สามารถป้องกันอันตรายจากความร้อนสูง
3.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล
ข้อควรระวัง
Type

การอพยพ

การรั่วไหลขนาดเล็ก

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) 0

การรั่วไหลขนาดใหญ่

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) 0

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 800
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร 800
คำแนะนำ ห้ามใช้น้ำหรือโฟมดับเพลิง

การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ ห้ามใช้น้ำหรือโฟมดับเพลิง
เพลิงไฟขนาดเล็ก ผงเคมีแห้ง โซดาแอซ ปูนขาว
เพลิงไฟขนาดใหญ่ 1.ทรายแห้ง ผงเคมีแห้ง โซดาแอช หรือปูนขาว หรือถอนกำลังออกจากพื้นที่แล้วปล่อยให้สารลุกไหม้จนหมด
2.ห้ามเคลื่อนย้ายตู้สินค้าหรือรถขนส่งหากตู้สินค้าได้รับความเสียหายเป็นเวลานาน
3.เคลื่อนย้ายภาชนะบรรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง 1. ฉีดน้ำดับเพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมรหรือใช้แท่นฉีดน้ำแทน
2. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ
3. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา
4. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า

กรณีเกิดการหกรั่วไหล

วิธีการเข้าระงับเหตุ 1..กำจัดแหล่งที่อาจทำให้เกิดการจุดไฟทั้งหมด (ห้ามสูบบุหรี่ จุดพลุ ทำให้เกิดประกายไฟหรือเปลวไฟบริเวณจุดเกิดเหตุ)
2 ระงับการรั่วไหลของสาร หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
3.ห้ามส้มผัสภาชนะบรรจุที่เสียหายหรือสารที่หกรั่วไหล หากไม่สวมใส่ชุดป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสม
4.ฉีดน้ำเป็นฝอยดักจับเพื่อลดหรือเปลี่ยนทิศทางไอระเหยสาร หลีกเลี่ยงไม่ให้น้ำที่ฉีดไหลไปสัมผัสกับสารที่รั่วไหล
5.ห้ามฉีดน้ำลงบนสารที่รั่วไหล หรือ ฉีดน้ำเข้าไปในภาชนะบรรจุ
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย 1.ปิดทับด้วยดินแห้ง ทรายแห้ง หรือวัสดุอื่นที่ไม่ติดไฟ แล้วปิดคลุมด้วยแผ่นพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง เพื่อลดการแพร่กระจายหรือการสัมผัสกับน้ำฝน
หกรั่วไหลปริมาณมาก 1.ห้ามทำความสะอาดพื้นที่เกิดเหตุหรือกำจัดสาร เว้นแต่ดำเนินการภายใต้คำแนะนำของผู้เชี่ยวขาญ

การปฐมพยาบาล

คำแนะนำ 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669
3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ
4. ห้ามผายปอดด้วยวิธีการเผ่าปาก หากผู้บาดเจ็บกลืนหรือหายใจรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย ให้ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดมีที่ครอบให้อากาศแบบวาล์วทางเดียว หรืออุปกรณ์ช่วยหายใจอื่นที่เหมาะสม
5. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก
6. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน
7.หากเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนนั้นแห้งอาจลุกติดไฟ
8. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที
9. รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ
10.เฝ้าระวังอาการผู้บาดเจ็บ
11. อาการบาดเจ็บจากการสัมผัสกับสาร(หายใจ กิน สัมผัส) อาจเกิดขึ้นช้า (ภายใน 48 ชั่วโมง
12. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม

มาตรการกำจัดของเสีย

การทำปฏิกิริยา การระเบิด

ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน

ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์

มาตรการป้องกัน

ข้อมูลเพิ่มเติม

Version: 1.0.190 BETA