ช้อมูลทั่วไป
ชื่อภาษาไทย | ปรอท |
ชื่อภาษาอังกฤษ | Mercury |
ชื่อทางการค้า | |
ประเภทสารเคมี | 8.สารกัดกร่อน |
Cas no. | 7439-97-6 |
UN Number | 2809 |
Formula | Hg |
จุดเดือด | 357 ํC องศาเซลเซียส |
จุดหลอมละลาย | -39 ํC องศาเซลเซียส |
AEGL1 | 0.018 |
AEGL2 | 0.21 |
AEGL3 | 1.1 |
NFPA |
0
0
0
|
ความอันตราย
กลุ่มสารเคมี | แกลเลียมและปรอท |
Polimerization | ไม่เป็น Polimerization |
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) | ไม่เป็น |
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ | |
อัคคีภัยหรือการระเบิด | 1.สารไม่ติดไฟ : ตัวสารไม่สามารถลุกติดไฟแต่อาจเกิดไอที่มีฤทธิ์กัดกร่อน และ/ หรือ เป็นพิษ
2.น้ำเสียจาการดับเพลิงอาจก่อมลพิษ |
ผลต่อสุขภาพ | 1.การสูดดมไอระเหยหรือการสัมผัสสารอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนและอาจเป็นอันตราย
2.เพลิงไหม้อานทำให้เกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ |
การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น
คำแนะนำเบื้องต้น | 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ
2.กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันที่อย่างน้อย 50 เมตร(150 ฟุต) ทุกทิศทาง 3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่ 4.อยู่เหนือลม |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง | 50 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว | 0 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง | 0 |
ชุดป้องกัน
คำแนะนำ | 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัด |
ข้อควรระวัง | |
Type |
การอพยพ
การรั่วไหลขนาดเล็ก
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) | 0 |
การรั่วไหลขนาดใหญ่
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) | 0 |
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ | 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ พิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 500 เมตร ( 1/3 ไมล์) ทุกทิศทาง |
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 500 |
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร | 500 |
คำแนะนำ | 1.ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิดของเพลิงไหม้โดยรอบ
2.ห้ามฉีดน้ำเข้าใส่โลหะที่กำลังร้อนโดยตรง |
การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ | 1.ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิดของเพลิงไหม้โดยรอบ
2.ห้ามฉีดน้ำเข้าใส่โลหะที่กำลังร้อนโดยตรง |
เพลิงไฟขนาดเล็ก | |
เพลิงไฟขนาดใหญ่ | |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง | |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า |
กรณีเกิดการหกรั่วไหล
วิธีการเข้าระงับเหตุ | 1.ห้ามสัมผัสหรือเดินย่ำผ่านบริเวณที่สาารหกรั่วไหล
2.ห้ามสัมผัสภาชนะบรรจุที่เสียหายหรือสารที่หกรั่วไหล หากไม่สามใส่ชุดป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสม 3. ระงับการรั่วไหล ทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย 4.ห้ามใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำด้วยเหล็กหรืออลูมิเนียม 5.ปิดทับด้วยดิน ทราย หรือวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่ติดไป แล้วปิดทับด้วยแผ่นพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง เพื่อลดการแพร่กระจายหรือการสัมผัสกับน้ำฝน 6.สำหรับปรอท ให้ใช้อุปกรณ์ทำความสะอาดสารโดยเฉพาะ (Mercury kit) 7.ทำความสะอาดพื้นที่ที่มีการรั่วไหลของปรอท โดยล้างด้วยสารแคลเซียมซัลไฟด์ (Calcium Sulfide/Calcium Sulphide) หรือโซเดียมไธซัลเฟต (Sodium Thiosulfate/Sodium Thiosulphate) เพื่อทำลายพิษสารปรอทที่ตกค้าง |
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล | |
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย | |
หกรั่วไหลปริมาณมาก |
การปฐมพยาบาล
คำแนะนำ | 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669 3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ 4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก 5. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน 6. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที 7. รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ 8. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม |
มาตรการกำจัดของเสีย
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ทําการดูดระบายอากาศ เก็บรวบรวมสารที่เป็น ของเหลวที่หกออกมาในภาชนะที่ปิดสนิทที่ไม่ใช่โลหะให้มากที่สุด ห้ามล้างลงท่อระบายน้ํา ห้ามปล่อยสารนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม |
การทำปฏิกิริยา การระเบิด
ถ้าให้ความร้อนสารจะให้ควันพิษ สารทําปฏิกิริยารุนแรงกับแอมโมเนียและฮาโลเจนทําให้เกิดอันตรายจากไฟไหม้และการระเบิด |
ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน
ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์
สารนี้เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ํา มีผลต่อห่วงโซ่อาหารที่มีความสําคัญต่อมนุษย์เกิดการสะสมในสิ่งมีชีวิตได้โดยเฉพาะปลา |
มาตรการป้องกัน
ต้องมีการเตรียมการเก็บกักสิ่งที่เกิดจากการดับเพลิง |