ช้อมูลทั่วไป

ชื่อภาษาไทย เพนตะโบแรน
ชื่อภาษาอังกฤษ Pentaborane
ชื่อทางการค้า
ประเภทสารเคมี 4.2 สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง
Cas no. 19624-22-7
UN Number 1380
Formula B5H9
จุดเดือด 60 ํC องศาเซลเซียส
จุดหลอมละลาย -47 ํC องศาเซลเซียส
AEGL1 0.015
AEGL2 0.14
AEGL3 0.51
NFPA
4 4 2

ความอันตราย

กลุ่มสารเคมี สารลุกติดไฟได้เอง
Polimerization เป็นวัตถุอันตรายอาจเกิดปฏิกิริยา Polimerization
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) ไม่เป็น
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ
อัคคีภัยหรือการระเบิด 1.สารไวไฟ/ติดไฟได้
2.อาจจุดติดไฟ เมื่อสัมผัสกับความชื้นหรืออากาศที่มีความชื้นสูง
3.อาจลุกไหม้อย่างรวดเร็วและเกิดเป็นเปลวไฟขนาดใหญ่
4.สารบางชนิดอานทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงหรือเกิดการระเบิดเมื่อสัมผัสกับน้ำ
5.สารบางชนิดสลายตัวและเกิดการระเบิด เมื่อได้รับความร้อนหรือเกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้
6.อาจลุกติดไฟซ้ำอีก หลังจากดับไฟได้แล้ว
7.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อน
8.น้ำเสียจากการดับเพลิงอาจก่อให้เกิดอันตรายจากเพลิงไหม้หรือระเบิด
ผลต่อสุขภาพ 1.หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ
2.การสูดดมก๊าซทีเกิดจากการสลายตัวของสารอาจเกิดการบาดเน็บรุนแรงหรือเสียชีวิตได้
3.การสัมผัสกับสารอาจทำให้ผิวหนังและดวงตาเป็นแผลไหม้รุนแรง
4.น้ำเสียจากการดับเพลิงอาจก่อมลพิษ

การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น

คำแนะนำเบื้องต้น 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ
2.เพื่อเป็นมาตรการป้องกันเหตุฉุกเฉินเบื้องต้น กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันทีทุกทิศทางอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ถ้าเป็นของเหลว อละอย่างน้อย 25 เมตร (75 ฟุต) ถ้าเป็นของแข็ง
3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่
4.อยู่เหนือลม
5.ห้ามอยู่ในที่ต่ำ
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง 50
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว 0
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง 0

ชุดป้องกัน

คำแนะนำ 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.สวมชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีตามข้อแนะนำของบริษัทผู้ผลิต ทั้งนี้ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีไม่สามารถป้องกันอันตรายจากความร้อนสูง
3.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล
ข้อควรระวัง
Type

การอพยพ

การรั่วไหลขนาดเล็ก

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) 0

การรั่วไหลขนาดใหญ่

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) 0
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) 0

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 800
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร 800
คำแนะนำ 1.ห้ามฉีดใช้น้ำ CO2 หรือ โฟมดับเพลิงเข้าใส่สาร
สารบางชนิดทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำ ยกเว้น สำหรับสาร Xamthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfite / Hydrosulphite) UN1384 และ UN1929 ให้ใช้น้ำปริมาณมากฉีดดับเพลิงทั้งเพลิงไหม้ขนาดเล็กและขนาดใหญ่เพื่อหยุดยั้งปฏิกิริยา การใช้สัสดุปิดคลุมเพื่อตัดอากาศไม่สามารถระงับเพลิงได้เพราะสารเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องใช้อากาศในการเผาไหม้

การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ 1.ห้ามฉีดใช้น้ำ CO2 หรือ โฟมดับเพลิงเข้าใส่สาร
สารบางชนิดทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำ ยกเว้น สำหรับสาร Xamthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfite / Hydrosulphite) UN1384 และ UN1929 ให้ใช้น้ำปริมาณมากฉีดดับเพลิงทั้งเพลิงไหม้ขนาดเล็กและขนาดใหญ่เพื่อหยุดยั้งปฏิกิริยา การใช้สัสดุปิดคลุมเพื่อตัดอากาศไม่สามารถระงับเพลิงได้เพราะสารเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องใช้อากาศในการเผาไหม้
เพลิงไฟขนาดเล็ก ผงเคมีแห้ง โซดาแอซ ปูนขาว หรือทรายแห้ง ยกเว็น UN1384 UN1923 UN1929 และ UN3342
เพลิงไฟขนาดใหญ่ ผงเคมีแห้ง โซดาแอซ ปูนขาว หรือทรายแห้ง ยกเว็น UN1384 UN1923 UN1929 และ UN3342 หรือถอนกำลังออกจากพื้นที่และปล่อยให้ลุกไหม้จนดับ
คำเตือน สาร UN3342 เมื่อถูกฉีดคลุมด้วยน้ำปริมาณมากจะค่อย ๆ ปล่อยก๊าซไวไฟ (Carbon disulfide/Carbon disulphide)
เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง 1. ฉีดน้ำดับเพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมรหือใช้แท่นฉิดน้ำแทน
2.ห้ามฉีดน้ำเข้าไปในภาชนะบรรจุหรือสัมผัสกับสารโดยตรง
3. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ
4. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา
5. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า

กรณีเกิดการหกรั่วไหล

วิธีการเข้าระงับเหตุ 1. สวมชุดป้องกันไอระเหยสารแบบคลุมทั้งตัว หากต้องปฏิบัติหน้าที่ในบริเวณที่มีการรั่วไหล แต่ไม่มีเพลิงไหม้
2. กำจัดแหล่งที่อาจทำให้เกิดการจุดไฟทั้งหมด (ห้ามสูบบุหรี่ จุดพลุ ทำให้เกิดประกายไฟ หรือเปลวไฟบริเวณจุดเกิดเหตุ)
3.ห้ามสัมผัสหรือเดินย่ำผ่านบริเวณที่สาารหกรั่วไหล
4. ระงับการรั่วไหล ทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย ข้อยกเว้น : สำหรับสาร Xanthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfife/Hydrosulphite) UN1384 UN1923 และ UN1929 ให้เจื่อจางด้วยน้ำ 5 เท่า และเก็บรวบรวมสำหรับกำจัดต่อไป
1.คำเตือน UN3342 เมื่อถูกฉีดคลุมด้วยน้ำปริมาณมากจะค่อย ๆ ปล่อยก๊าซไวไฟ Carbon disulfide/Carbon disulphide
2.ปิดทับด้วยดินแห้ง ทรายแห้ง หรือวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่ติดไฟ แล้วปิดทับด้วยแผ่นพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง เพื่อลดการแพร่กระจายหรือการสัมผัสกับน้ำฝน
3.เก็บรวบรวมสารที่หกหลุ่นด้วยอุปกรณ์ที่สะอาดและไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ ใน่ในภาชนะบรรจุด้วยพลาสติกปิดฝาอย่างหลวม ๆ เพื่อรอการกำจัด
4. ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ
หกรั่วไหลปริมาณมาก 1.พิจารณาอพยพประชาชนที่อาศัยอยู่ใต้ลมเบื้องต้นอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต)

การปฐมพยาบาล

คำแนะนำ 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669
3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ
4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก
5. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน
6. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที
8. รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ
9. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม

มาตรการกำจัดของเสีย

ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทำการดูดระบาย อากาศเก็บกวาดสารที่หกออกมาใส่ในภาชนะที่ปิดสนิทให้มากที่สุด ใช้ทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย (inert absorbent) โรยที่ของเหลวที่เหลือ และนา ไปทิ้งที่ปลอดภัย

การทำปฏิกิริยา การระเบิด

ทำปฏิกิริยากับฮาโลเจน สารประกอบฮาโลเจน น้ำมัน และจารบีและสารออกซิไดซ์ทำใหเ้กิดอันตรายจาก ไฟไหม้และการระเบิด

ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน

ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์

ไม่ควรปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม

มาตรการป้องกัน

เก็บในที่ป้องกันไฟได้เก็บแยกจากสารออกซิไดซ์อย่างแรง เก็บในที่แห้ง เก็บภายใต้บรรยากาศของไนโตรเจน

ข้อมูลเพิ่มเติม

Version: 1.0.190 BETA