ช้อมูลทั่วไป
ชื่อภาษาไทย | โพลิเอทธิลีน |
ชื่อภาษาอังกฤษ | POLYETHYLENE |
ชื่อทางการค้า | HDPE Butene Sheet; HDPE Copolymer; Ethylene/Hexene Copolymer Sheet, Ethylene/Octene Copolymer |
ประเภทสารเคมี | 4.1 ของแข็งไวไฟ |
Cas no. | 9002-88-4 |
UN Number | |
Formula | (C2H4 )n |
จุดเดือด | - องศาเซลเซียส |
จุดหลอมละลาย | 85-140 ํC องศาเซลเซียส |
AEGL1 | - |
AEGL2 | - |
AEGL3 | - |
NFPA |
0
0
0
|
ความอันตราย
กลุ่มสารเคมี | ของแข็งไวไฟ |
Polimerization | ไม่เป็น Polimerization |
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) | ไม่เป็น |
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ | |
อัคคีภัยหรือการระเบิด | 1.สารไวไฟ/ติดไฟได้
2.อาจจุดติดไฟ เนื่องจากการเสียดสี ความรอ้น ประกายไฟ หรือเปลวไฟ 3.สารบางชนิดลุกไหม้อย่างรวดเร็วและเกิดเป็นเปลวไฟขนาดใหญ่ 4.ผง ฝุ่น หรือเศษจากการตัดแต่ง เจาะ กลึ่งหรือตัด อาจระเบิดหรือลุกไหม้พร้อมการระเบิด 5.สารอาจถูกส่งในสภาวะหลอมเหลวที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟของสารนั้น 6.อาจลุกติดไฟซ้ำอีก หลังจากดับไฟได้แล้ว |
ผลต่อสุขภาพ | 1.หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ
2.การสัมผสกับสารอาจทำให้ผิวหนังและดวงตาเป็นแผลไหม้ 3.การสัมผสกับสารในสภาวะหลอมเหลวอาจทำให้ผิวหนังและดวงตาเป็นแผลไหม้รุนแรง 4.น้ำเสียจากการดับเพลิงอาจก่อมลพิษ |
การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น
คำแนะนำเบื้องต้น | 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ
2.เพื่อเป็นมาตรการป้องกันเหตุฉุกเฉินเบื้องต้น กั้นแยกพื้นที่ที่สารรัวไหลทันทีอย่างน้อย 25 เมตร (75 ฟุต) ทุกทิศทาง 3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่ 4.อยู่เหนือลม 5.ห้ามอยู่ในที่ต่ำ |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง | 25 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว | 0 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง | 0 |
ชุดป้องกัน
คำแนะนำ | 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล |
ข้อควรระวัง | |
Type |
การอพยพ
การรั่วไหลขนาดเล็ก
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) |
การรั่วไหลขนาดใหญ่
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) |
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ | 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง |
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 800 |
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร | 800 |
คำแนะนำ |
การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ | |
เพลิงไฟขนาดเล็ก | 1.ผงเคมีแห้ง CO2 ทราย ดิน น้ำฉีดเป็นฝอย หรือโฟมดับเพลิงชนิดมีขั้ว |
เพลิงไฟขนาดใหญ่ | 1.ฉีดน้ำเป็นฝอย หมอก หรือโฟมดับเพลิง |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง | เพลิงไหม้/เกิดอยู่ใกล้ผงโลหะหรือโลหะในสภาวะหลอมเหล (เช่น อลูมิเนียมเหลว) - เพลิงไหม้อลูมิเนียมเหลวควรดำเนินการตามวิธีการระงับเหตุเพลิงไหม้โลหะที่ลุกติดไฟได้ใช้ทรายแห้งผงกราไฟต์ สารดับเพลิงที่ผสมเกลือแห้ง เช่น ผง G-1 หรือ Met L-X รวมทั้งให้ดู Guide 170 |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า | 1. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ
2. สำหรับเพลิงไหม้รุนแรงและใหญ่มาก ให้ใช้หัวฉีดชนิดที่ไม่ต้องใช้มือจับหรือใช้แท่นฉิดน้ำแทนหากไม่มีให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่และปล่อยให้ไฟลุกไหม้จนดับไปเอง 3. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี 4. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา |
กรณีเกิดการหกรั่วไหล
วิธีการเข้าระงับเหตุ | 1.กำจัดแหล่งที่อาจทำให้เกิดการจุดไฟทั้งหมด (ห้ามสูบบุหรี่ จุดพลุ ทำให้เกิดประกายไฟหรือเปลวไฟบริเวณจุดเกิดเหตุ)
2. ห้ามสัมผัสหรือเดินย่ำผ่านบริเวณที่สาารหกรั่วไหล |
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล | |
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย | 1.(สารแห้ง) ตักสารที่หกหล่นด้วยพลั่วสะอาดใส่ในภาชนะบรรจุที่สะอาดและแห้ง และปิดฝาอย่างหลวม ๆ ขนย้ายภาชนะบรรจุนั้นออกจากจุดเกิดเหตุ |
หกรั่วไหลปริมาณมาก | 1.ทำให้สารเปิยกด้วยน้ำ และสร้างคันกั้นหรือขุดร่องกักสารเพื่อกำจัดต่อไป
2.ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ |
การปฐมพยาบาล
คำแนะนำ | 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669 3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ 4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก 5. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน 6. รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ 7. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที 8.การกำจัดสารที่เป็นของแข็งหลอมเหลวออกจากผิวหนังต้องได้รับการช่วยเหลือทางการแพทย์ 9. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม |
มาตรการกำจัดของเสีย
เก็บกวาดสารที่หกออกใส่ในภาชนะแห้ง ปิดสนิทและติดฉลากถ้าเป็นไปได้ทำให้สารชื้นก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดฝุ่น |
การทำปฏิกิริยา การระเบิด
สารสลายตัวเมื่อได้รับความร้อน ทำให้เกิดควันพิษและกัดกร่อน ทำให้เกิดอันตรายจากไฟไหม้และการระเบิด ทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับฟลูออรีน ทำปฏิกิริยากับกรดแก่ สารออกซิไดซ์อย่างแรง |
ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน
ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์
ไม่ควรปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม |
มาตรการป้องกัน
เก็บแยกจากวัสดุที่เข้ากันไม่ได้ |