ช้อมูลทั่วไป
ชื่อภาษาไทย | นิเกิล ซัลเฟต |
ชื่อภาษาอังกฤษ | Nickel sulfate |
ชื่อทางการค้า | |
ประเภทสารเคมี | 9.วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด |
Cas no. | 7786-81-4 |
UN Number | 3077 |
Formula | NiSO4 |
จุดเดือด | - องศาเซลเซียส |
จุดหลอมละลาย | - องศาเซลเซียส |
AEGL1 | - |
AEGL2 | - |
AEGL3 | - |
NFPA |
0
0
0
|
ความอันตราย
กลุ่มสารเคมี | สาร (ระดับอัตรายต่ำถึงปานกลาง) |
Polimerization | ไม่เป็น Polimerization |
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) | ไม่เป็น |
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ | |
อัคคีภัยหรือการระเบิด | 1.สารอาจติดไฟได้ แต่ไม่มีชนิดใดที่จุดติดไฟทันที
2.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อน 3.สารบางชนิดอาจถูกขนส่งในสภาวะอุณหภูมิสูง |
ผลต่อสุขภาพ | 1.การสูดดมสารอาจเป็นอันตราย
2.การสัมผัสกับสารอาจทำให้ผิวหนังและดวงตาเกิดแผลไหม้รุนแรง 3.การสูดดมฝุ่นแอสเบสตอส (Asbestos) อาจเกิดผลกระทบต่อปอด 4.เพลิงไหม้อาจทำให้เกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ 5.ของเหลวบางชนิดอาจเกิดไอระเหยที่ทำให้เกิดดาการมึนงงหรือหายใจไม่ออก 6.น้ำเสียจาการดับเพลิงอาจก่อมลพิษ |
การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น
คำแนะนำเบื้องต้น | 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ
2.กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันทีทุกทิศทางอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ถ้าเป็นของเหลว และอย่างน้อย 25 เมตร (75 ฟุต) ถ้าเป็นของแข็ง 3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่ 4.อยู่เหนือลม |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง | 50 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว | 0 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง | 0 |
ชุดป้องกัน
คำแนะนำ | 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัด |
ข้อควรระวัง | |
Type |
การอพยพ
การรั่วไหลขนาดเล็ก
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) |
การรั่วไหลขนาดใหญ่
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) |
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ | 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง |
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 800 |
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร | 800 |
คำแนะนำ |
การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ | |
เพลิงไฟขนาดเล็ก | 1.ผงเคมีแห้ง CO2 น้ำฉีดเป็นฝอย หรือโฟมดับเพลิง |
เพลิงไฟขนาดใหญ่ | 1.ฉีดน้ำเป็นฝอย หมอก หรือโฟมดับเพลิง
2.ห้ามทำให้สารแตกกระเจิงด้วยการฉีดน้ำแรงดันสูง 3. เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย 4.สร้างคันกั้นหรือร่องกักน้ำเสียจากการดับเพลิงเพื่อนำไปกำจัดภายหลัง |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง | 1. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ
2. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี 3. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า |
กรณีเกิดการหกรั่วไหล
วิธีการเข้าระงับเหตุ | 1. ห้ามสัมผัสหรือเดินย่ำผ่านบริเวณที่สาารหกรั่วไหล
2. ระงับการรั่วไหลของสาร หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย 3.ป้องกันการเกิดกลุ่มหมอกของผงฝุ่น 4.หลีกเลี่ยงการสูดหายใจรับผงฝุ่นแอสเบสดอส |
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล | |
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย | กรณีของแข็ง :
ใช้พลั่วที่สะอาดตักสารใส่ในภาชนะบรรจุที่สะอาดและแห้ง ปิดฝาอย่างหลวม ๆ และขนย้ายออกจากที่เกิดเหตุ กรณีของเหลว : ดูดซับด้วยทรายหรือวัสดุดูดซัพที่ไม่ติดไฟ เก็บรวบรวมใส่ภาชนะบรรจุเพื่อส่งกำจัด |
หกรั่วไหลปริมาณมาก | 1.สร้างคั้นกั้นหรือขุดร่องกักของเหลวที่แพร่กระจายเพื่อส่งกำจัดต่อไป
2.ปิดทับผงฝุ่นด้วยแผ่นพลาสติกหรือผ้าใบ เพื่อลดการแพร่กระจายของสาร 3.ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอัพอากาศ |
การปฐมพยาบาล
คำแนะนำ | 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669 3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ 4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก 5. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน 6.หากเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนนั้นแห้งอาจลุกติดไฟ 7. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที 8. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม |
มาตรการกำจัดของเสีย
ดูดสารที่หกออกมาด้วยเครื่องดูดฝุ่น เก็บสารที่เหลืออย่างระมัดระวังแล้วนําไปทิ้งในที่ปลอดภัยไม่ควรปล่อยสารเคมีนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม |
การทำปฏิกิริยา การระเบิด
ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน
ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์
เป็นสารที่เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ํา |