ช้อมูลทั่วไป

ชื่อภาษาไทย อะลูมิเนียม
ชื่อภาษาอังกฤษ Aluminium
ชื่อทางการค้า
ประเภทสารเคมี
Cas no. 7429-90-5
UN Number 1396
Formula Al
จุดเดือด 2327°C องศาเซลเซียส
จุดหลอมละลาย 660°C องศาเซลเซียส
AEGL1 -
AEGL2 -
AEGL3 -
NFPA
3 0 1

ความอันตราย

กลุ่มสารเคมี สารลุกติดไฟได้เอง
Polimerization ไม่เป็น Polimerization
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) ไม่เป็น
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ
อัคคีภัยหรือการระเบิด 1.สารไวไฟ/ติดไฟได้
2.อาจจุดติดไฟ เมื่อสัมผัสกับความชื้นหรืออากาศที่มีความชื้นสูง
3.อาจลุกไหม้อย่างรวดเร็วและเกิดเป็นเปลวไฟขนาดใหญ่
4.สารบางชนิดอานทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงหรือเกิดการระเบิดเมื่อสัมผัสกับน้ำ
5.สารบางชนิดสลายตัวและเกิดการระเบิด เมื่อได้รับความร้อนหรือเกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้
6.อาจลุกติดไฟซ้ำอีก หลังจากดับไฟได้แล้ว
7.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อน
8.น้ำเสียจากการดับเพลิงอาจก่อให้เกิดอันตรายจากเพลิงไหม้หรือระเบิด
ผลต่อสุขภาพ 1.หากสารเกิดลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ
2.การสูดดมก๊าซทีเกิดจากการสลายตัวของสารอาจเกิดการบาดเน็บรุนแรงหรือเสียชีวิตได้
3.การสัมผัสกับสารอาจทำให้ผิวหนังและดวงตาเป็นแผลไหม้รุนแรง
4.น้ำเสียจากการดับเพลิงอาจก่อมลพิษ

การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น

คำแนะนำเบื้องต้น 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ
2.เพื่อเป็นมาตรการป้องกันเหตุฉุกเฉินเบื้องต้น กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันทีทุกทิศทางอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ถ้าเป็นของเหลว อละอย่างน้อย 25 เมตร (75 ฟุต) ถ้าเป็นของแข็ง
3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่
4.อยู่เหนือลม
5.ห้ามอยู่ในที่ต่ำ
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง 50
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว 0
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง 0

ชุดป้องกัน

คำแนะนำ 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.สวมชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีตามข้อแนะนำของบริษัทผู้ผลิต ทั้งนี้ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีไม่สามารถป้องกันอันตรายจากความร้อนสูง
3.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล
ข้อควรระวัง
Type

การอพยพ

การรั่วไหลขนาดเล็ก

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร)

การรั่วไหลขนาดใหญ่

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร)

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 800
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร 800
คำแนะนำ 1.ห้ามฉีดใช้น้ำ CO2 หรือ โฟมดับเพลิงเข้าใส่สาร
สารบางชนิดทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำ ยกเว้น สำหรับสาร Xamthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfite / Hydrosulphite) UN1384 และ UN1929 ให้ใช้น้ำปริมาณมากฉีดดับเพลิงทั้งเพลิงไหม้ขนาดเล็กและขนาดใหญ่เพื่อหยุดยั้งปฏิกิริยา การใช้สัสดุปิดคลุมเพื่อตัดอากาศไม่สามารถระงับเพลิงได้เพราะสารเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องใช้อากาศในการเผาไหม้

การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ 1.ห้ามฉีดใช้น้ำ CO2 หรือ โฟมดับเพลิงเข้าใส่สาร
สารบางชนิดทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำ ยกเว้น สำหรับสาร Xamthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfite / Hydrosulphite) UN1384 และ UN1929 ให้ใช้น้ำปริมาณมากฉีดดับเพลิงทั้งเพลิงไหม้ขนาดเล็กและขนาดใหญ่เพื่อหยุดยั้งปฏิกิริยา การใช้สัสดุปิดคลุมเพื่อตัดอากาศไม่สามารถระงับเพลิงได้เพราะสารเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องใช้อากาศในการเผาไหม้
เพลิงไฟขนาดเล็ก ผงเคมีแห้ง โซดาแอซ ปูนขาว หรือทรายแห้ง ยกเว็น UN1384 UN1923 UN1929 และ UN3342
เพลิงไฟขนาดใหญ่ ผงเคมีแห้ง โซดาแอซ ปูนขาว หรือทรายแห้ง ยกเว็น UN1384 UN1923 UN1929 และ UN3342 หรือถอนกำลังออกจากพื้นที่และปล่อยให้ลุกไหม้จนดับ
คำเตือน สาร UN3342 เมื่อถูกฉีดคลุมด้วยน้ำปริมาณมากจะค่อย ๆ ปล่อยก๊าซไวไฟ (Carbon disulfide/Carbon disulphide)
เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง 1. ฉีดน้ำดับเพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมรหือใช้แท่นฉิดน้ำแทน
2.ห้ามฉีดน้ำเข้าไปในภาชนะบรรจุหรือสัมผัสกับสารโดยตรง
3. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ
4. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา
5. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า

กรณีเกิดการหกรั่วไหล

วิธีการเข้าระงับเหตุ 1. สวมชุดป้องกันไอระเหยสารแบบคลุมทั้งตัว หากต้องปฏิบัติหน้าที่ในบริเวณที่มีการรั่วไหล แต่ไม่มีเพลิงไหม้
2. กำจัดแหล่งที่อาจทำให้เกิดการจุดไฟทั้งหมด (ห้ามสูบบุหรี่ จุดพลุ ทำให้เกิดประกายไฟ หรือเปลวไฟบริเวณจุดเกิดเหตุ)
3.ห้ามสัมผัสหรือเดินย่ำผ่านบริเวณที่สาารหกรั่วไหล
4. ระงับการรั่วไหล ทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย ข้อยกเว้น : สำหรับสาร Xanthates (UN3342) และสาร Dithionite (Hydrogensulfife/Hydrosulphite) UN1384 UN1923 และ UN1929 ให้เจื่อจางด้วยน้ำ 5 เท่า และเก็บรวบรวมสำหรับกำจัดต่อไป
1.คำเตือน UN3342 เมื่อถูกฉีดคลุมด้วยน้ำปริมาณมากจะค่อย ๆ ปล่อยก๊าซไวไฟ Carbon disulfide/Carbon disulphide
2.ปิดทับด้วยดินแห้ง ทรายแห้ง หรือวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่ติดไฟ แล้วปิดทับด้วยแผ่นพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง เพื่อลดการแพร่กระจายหรือการสัมผัสกับน้ำฝน
3.เก็บรวบรวมสารที่หกหลุ่นด้วยอุปกรณ์ที่สะอาดและไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ ใน่ในภาชนะบรรจุด้วยพลาสติกปิดฝาอย่างหลวม ๆ เพื่อรอการกำจัด
4. ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ
หกรั่วไหลปริมาณมาก 1.พิจารณาอพยพประชาชนที่อาศัยอยู่ใต้ลมเบื้องต้นอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต)

การปฐมพยาบาล

คำแนะนำ 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669
3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ
4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก
5. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน
6. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที
8. รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ
9. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม

มาตรการกำจัดของเสีย

เก็บกวาดสารที่หกออกมาใส่ในภาชนะ และภาชนะที่แห้ง

การทำปฏิกิริยา การระเบิด

ทำปฏิกิริยากับน้ำ และแอลกอฮอล์ และทำรุนแรงกับสารออกซิไดซ์ กรดแก่ คลอรีนและไฮโดรคาร์บอน

ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน

ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์

ป้องกันไม่ให้ไหลลงสู่ระบบสุขาภิบาล, ดิน หรือสิ่งแวดล้อม

มาตรการป้องกัน

เก็บแยกจากสารออกซิไดซ์อย่างแรง ด่างแก่ กรดแก่ และน้ำ เก็บในที่แห้ง เก็บในภาชนะปิดสนิท

ข้อมูลเพิ่มเติม

Version: 1.0.190 BETA