ช้อมูลทั่วไป

ชื่อภาษาไทย
ชื่อภาษาอังกฤษ Difluoromethane
ชื่อทางการค้า
ประเภทสารเคมี 2.1 ก๊าซไวไฟ
Cas no. 75-10-5
UN Number 3252
Formula
จุดเดือด - องศาเซลเซียส
จุดหลอมละลาย - องศาเซลเซียส
AEGL1 -
AEGL2 -
AEGL3 -
NFPA
0 0 0

ความอันตราย

กลุ่มสารเคมี ก๊าซ - ไวไฟ (รวมทั้งก๊าซเหลวเย็นจัด)
Polimerization ไม่เป็น Polimerization
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) ไม่เป็น
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ
อัคคีภัยหรือการระเบิด -ไวไฟสูงมาก
ไอระเหยจากก๊าซเหลว ในขั้นต้นจะหนักกว่าอากาศ และแพร่กระจายไปตามพื้น
-เมื่อผสมกับอากาศอาจเกิดส่วนปสมที่ระเบิดได้
-ลุกติดไฟได้ง่ายเมื่อได้รับความร้อน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ
-ไอระเหยสารอาจลอยไปหาแหล่งความร้อนหรือประกายไฟ ติดไฟและเปลวไฟย้อนกลับไปยังต้นกำเนิด
ถึงบรรจุก๊าซทรงกระบอกที่ถูกเพลิงไหม้อาจปล่อยก๊าซไวไฟออกมาทางอุปกรณ์ควบคุมความดันนิรภัย
ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อน
ถังบรรจุก๊าซทรงกระบอกที่ฉีกขาดอาจพุ่งไปในทิศทางต่าง ๆ
-คำเตือน : ไฮโดรเจน(UN 1049) ดิวเทอเรียม (UN 1957) หรือไฮโดรเจนเหลว (UN 1966) และมีเทน (UN 1971) จะเบากว่าอากาศและลอยตัวขึ้นสูง เพลิงไหม้ที่เกิดจากไฮโดรเจนและดิวเทอเรียมตรวจจับได้ยากเพราะมองไม่เห็นเปลวไฟ ต้องใช้ทางเลือกอื่นในการตรวจจับเช่น กล้องตรวจจับความร้อน เครื่องตรวจจับเพลิงแบบต่อแขน เป็นต้น
ผลต่อสุขภาพ -ไอระเหยอาจเกิดภาวะขาดออกซิเจนและสลบโดยไม่รู้ตัว
-สารบางชนิดเป็นพิษและอาจทำให้เสียชีวิตหากสูดดม กลืนกิน หรือดูดซึมผ่านผิวหนัง
-หาสารเกิดลุกไหม้ อาจเกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง และ/หรือเป็นพิษ
การสัมผัสก๊าซหรือก๊าซเหลวอาจเกิดแผลไหม้ บาดเจ็บสาหัส และ/หรือแผลจากความเย็นจัด

การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น

คำแนะนำเบื้องต้น -โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ
-กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันที่อย่างน้อย 100 เมตร(330 ฟุต) ทุกทิศทาง
-กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห้างจากพื้นที่
-อยู่เหนือลม
-ห้ามอยู่ในที่ต่ำ
-ก๊าซหลายชนิดจะหนักกว่าอากาศและจะแพร่กระจายไปตามพื้น สะสมตัวในที่ต่ำ หรือที่อับอากาศ (ท่อระบายน้ำ ห้องใต้ดิน ถังเก็บ)
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง 100
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว 0
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง 0

ชุดป้องกัน

คำแนะนำ -สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
-ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล
-สวมชุดป้องกันอันตรายจากอุณหภูมิเมื่อมีการถ่ายเทหรือจัดการก๊าซเหลวเย็นจัด
ข้อควรระวัง
Type

การอพยพ

การรั่วไหลขนาดเล็ก

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร)

การรั่วไหลขนาดใหญ่

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร)

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ -หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสารเกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 1,600 เมตร ( 1 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 1,600 เมตร ( 1 ไมล์) ทุกทิศทาง
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 1600
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร 1600
คำแนะนำ 1.ห้ามดับเพลิงที่เกิดจากก๊าซรั่วจนกว่าจะหยุดการรั่วไหลได้
2.คำเตือน : ไฮโดรเจน(UN 1049) ดิวเทอเรียม (UN 1957) หรือไฮโดรเจนเหลว (UN 1966) และมีเทน (UN 1971) เมื่อลุกติดไฟจะเกิดเปลวไฟที่มองไม่เห็น ก๊าซอัดความดันที่มีส่วนผสมไฮโดรเจนและมีเทน (UN 2034) อาจลุกติดไฟและเกิดเปลวไฟที่มองไม่เห็น

การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ 1.ห้ามดับเพลิงที่เกิดจากก๊าซรั่วจนกว่าจะหยุดการรั่วไหลได้
2.คำเตือน : ไฮโดรเจน(UN 1049) ดิวเทอเรียม (UN 1957) หรือไฮโดรเจนเหลว (UN 1966) และมีเทน (UN 1971) เมื่อลุกติดไฟจะเกิดเปลวไฟที่มองไม่เห็น ก๊าซอัดความดันที่มีส่วนผสมไฮโดรเจนและมีเทน (UN 2034) อาจลุกติดไฟและเกิดเปลวไฟที่มองไม่เห็น
เพลิงไฟขนาดเล็ก 1.ผงเคมีแห้งและ CO2
เพลิงไฟขนาดใหญ่ 1.ฉิดน้ำเป็นฝอยหรือหมอก
2.เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง 1.ฉีดน้ำดับเพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมหรือใช้แท่นฉิดน้ำแทน
2. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนิบรรจุจนกว่าเพลิงจะสงบ
3.ห้ามฉิดน้ำไปยังรอยรั่วหรืออุปกรณ์ระบายความดันโดยตรง อาจมีน้ำแข็งเกาะบริเวณดังกล่าว
4. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา
5. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันที หากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี
6.สำหรับเพลิงไหม้รุ่นแรงและใหญ่มาก ให้ใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้มือจับหรือใช้แท่นฉีดน้ำแทนหากไม่มีให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่และปล่อยให้ไฟลุกไหม้จนดับไปเอง
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า

กรณีเกิดการหกรั่วไหล

วิธีการเข้าระงับเหตุ 1. กำจัดแหล่งที่อาจทำให้เกิดการจุดไฟทั้งหมด (ห้ามสูบบุหรี่ จุดพลุ ทำให้เกิดประกายไฟหรือเปลวไฟบริเวณจุดเกิดเหตุ)
2. กั้นบริเวณจนกว่าก๊าซพิษเจือจางไป
3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการถ่ายเทหรือขนย้ายสารต้องต่อสายดิน
4. ห้ามสัมผัสหรือเกินย่ำผ่านบริเวณที่สารหกรั่วไหล
5. หากเป็นไปได้ หมุนภาชนะบรรจุจนอยู่ในต่ำแหน่งที่ของเหลวไม่ไหลออกมา จะมีก๊าซรั่วออกมาเท่านั้น
6. ระงับการรั่วไหลของสารหากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
7. ฉิดน้ำเป็นฝอยดักจับกลุ่มไอระเหยสารเพื่อลดความเข้มข้นหรือเปลี่ยนทิศทาง แต่อย่าให้น้ำที่ฉีดไหลไปสัมผัสกับตัวสารที่หกรั่วไหลโดยตรง
8. ห้ามฉีดน้ำใส่สารที่นองพื้นที่หรือจุดรั่วไหลโดยตรง
9. ป้องกันสารมิให้ไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ
10. คำเตือน : สารหลายชนิดเมื่อสัมผัสกับก๊าซเหลวเย็นจัด จะเปราะและแตกหักง่าย
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย
หกรั่วไหลปริมาณมาก

การปฐมพยาบาล

คำแนะนำ - นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
- รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ
- โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน (1669)
- ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ้ฐหยุดหายใจ
- เสื้อผ้าที่แข็งติดผิวหนังต้องทำให้คลายตัวก่อนถอด
- ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก
- กรณีที่สัมผัสกับก๊าซเหลว ใช้น้ำอุ่านล้างเพื่อทำให้กล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าวคลายตัว
- กรณีเกิดแผลไหม้ ทำให้ผิวหนังบริเวณดังกล่าวเย็นทันทีโดยแช่น้ำเย็นนานเท่าที่จะทำได้ห้ามถอดเสื้อผ้าที่แข็งติดกับผิวหนัง
- ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวทั้งมีการป้องกั้นตนเองอย่งเหมะสม

มาตรการกำจัดของเสีย

การทำปฏิกิริยา การระเบิด

ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน

ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์

มาตรการป้องกัน

ข้อมูลเพิ่มเติม

คำเตือน : สารหลายชนิดเมื่อสัมผัสกับก๊าซเหลวเย็นจัด จะเปราะและแตกหักง่าย
Version: 1.0.190 BETA