ช้อมูลทั่วไป

ชื่อภาษาไทย ทองแดง
ชื่อภาษาอังกฤษ Copper
ชื่อทางการค้า
ประเภทสารเคมี 9.วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด
Cas no. 7440-50-8
UN Number 3077
Formula Cu
จุดเดือด 2595 ํC องศาเซลเซียส
จุดหลอมละลาย 1083 ํC องศาเซลเซียส
AEGL1 -
AEGL2 -
AEGL3 -
NFPA
0 0 0

ความอันตราย

กลุ่มสารเคมี สาร (ระดับอัตรายต่ำถึงปานกลาง)
Polimerization ไม่เป็น Polimerization
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) ไม่เป็น
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ
อัคคีภัยหรือการระเบิด 1.สารอาจติดไฟได้ แต่ไม่มีชนิดใดที่จุดติดไฟทันที
2.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อน
3.สารบางชนิดอาจถูกขนส่งในสภาวะอุณหภูมิสูง
ผลต่อสุขภาพ 1.การสูดดมสารอาจเป็นอันตราย
2.การสัมผัสกับสารอาจทำให้ผิวหนังและดวงตาเกิดแผลไหม้รุนแรง
3.การสูดดมฝุ่นแอสเบสตอส (Asbestos) อาจเกิดผลกระทบต่อปอด
4.เพลิงไหม้อาจทำให้เกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ
5.ของเหลวบางชนิดอาจเกิดไอระเหยที่ทำให้เกิดดาการมึนงงหรือหายใจไม่ออก
6.น้ำเสียจาการดับเพลิงอาจก่อมลพิษ

การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น

คำแนะนำเบื้องต้น 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ
2.กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันทีทุกทิศทางอย่างน้อย 50 เมตร (150 ฟุต) ถ้าเป็นของเหลว และอย่างน้อย 25 เมตร (75 ฟุต) ถ้าเป็นของแข็ง
3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่
4.อยู่เหนือลม
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง 50
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว 0
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง 0

ชุดป้องกัน

คำแนะนำ 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัด
ข้อควรระวัง
Type

การอพยพ

การรั่วไหลขนาดเล็ก

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร)

การรั่วไหลขนาดใหญ่

กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร)
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร)

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) 800
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร 800
คำแนะนำ

การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

กรณีเกิดการเพลิงไหม้

ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ
เพลิงไฟขนาดเล็ก 1.ผงเคมีแห้ง CO2 น้ำฉีดเป็นฝอย หรือโฟมดับเพลิง
เพลิงไฟขนาดใหญ่ 1.ฉีดน้ำเป็นฝอย หมอก หรือโฟมดับเพลิง
2.ห้ามทำให้สารแตกกระเจิงด้วยการฉีดน้ำแรงดันสูง
3. เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
4.สร้างคันกั้นหรือร่องกักน้ำเสียจากการดับเพลิงเพื่อนำไปกำจัดภายหลัง
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง 1. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ
2. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี
3. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า

กรณีเกิดการหกรั่วไหล

วิธีการเข้าระงับเหตุ 1. ห้ามสัมผัสหรือเดินย่ำผ่านบริเวณที่สาารหกรั่วไหล
2. ระงับการรั่วไหลของสาร หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
3.ป้องกันการเกิดกลุ่มหมอกของผงฝุ่น
4.หลีกเลี่ยงการสูดหายใจรับผงฝุ่นแอสเบสดอส
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย กรณีของแข็ง :
ใช้พลั่วที่สะอาดตักสารใส่ในภาชนะบรรจุที่สะอาดและแห้ง ปิดฝาอย่างหลวม ๆ และขนย้ายออกจากที่เกิดเหตุ กรณีของเหลว :
ดูดซับด้วยทรายหรือวัสดุดูดซัพที่ไม่ติดไฟ เก็บรวบรวมใส่ภาชนะบรรจุเพื่อส่งกำจัด
หกรั่วไหลปริมาณมาก 1.สร้างคั้นกั้นหรือขุดร่องกักของเหลวที่แพร่กระจายเพื่อส่งกำจัดต่อไป
2.ปิดทับผงฝุ่นด้วยแผ่นพลาสติกหรือผ้าใบ เพื่อลดการแพร่กระจายของสาร
3.ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอัพอากาศ

การปฐมพยาบาล

คำแนะนำ 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669
3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ
4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก
5. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน
6.หากเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนนั้นแห้งอาจลุกติดไฟ
7. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที
8. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม

มาตรการกำจัดของเสีย

เก็บหรือตักสารที่หกออกมาใส่ในภาชนะ เก็บกวาดส่วนที่เหลืออย่างระมัดระวังแล้วนําไปทิ้งในที่ปลอดภัย

การทำปฏิกิริยา การระเบิด

ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซ์อย่างแรง เช่น chlorates , bromates และ iodates

ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน

ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์

ไม่ควรปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ

มาตรการป้องกัน

เก็บแยกจากสารออกซิไดซ์

ข้อมูลเพิ่มเติม

Version: 1.0.190 BETA