ช้อมูลทั่วไป
ชื่อภาษาไทย | สังกะสี โครเมท |
ชื่อภาษาอังกฤษ | Lead chromate |
ชื่อทางการค้า | CL 75 YELLOW CHROMATE |
ประเภทสารเคมี | 6.1 สารพิษ |
Cas no. | 7758-97-6 |
UN Number | 2291 |
Formula | PbCrO4 |
จุดเดือด | 0 องศาเซลเซียส |
จุดหลอมละลาย | 844 องศาเซลเซียส |
AEGL1 | - |
AEGL2 | - |
AEGL3 | - |
NFPA |
0
0
0
|
ความอันตราย
กลุ่มสารเคมี | สารเป็นพิษ (ไม่ติดไฟ) |
Polimerization | ไม่เป็น Polimerization |
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) | ไม่เป็น |
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ | |
อัคคีภัยหรือการระเบิด | 1.ไม่ติดไฟ ตัวสารจะไม่ลุกไหม้ แต่อาจสลายตัวเมื่อได้รับความร้อนเกิดไอสารที่มีฤทธิ์กัดกร่อนและเป็นพิษ
2.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน 3.น้ำเสียจากจุดเกิดเหตุอาจก่อมลพิษในลำน้ำ |
ผลต่อสุขภาพ | 1.เป็นพิษสูง อาจเสียชีวิตหากสูดดม กิน หรือสารซึมผ่านผิวหนัง
2.หลีกเลี่ยงไม่ให้สารสัมผัสผิวหนัง 3.ความผิดปกติจากการสัมผัสหรือสูดดมสาร อาจเกิดขึ้นช้า (ภายใน 48 ชั่วโมง) 4.เพลิงไหม้อาจทำให้เกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ 5.น้ำเสียจากการดับเพลิงหรือน้ำที่ใช้เจือจางสาร อาจมีฤทธิ์กัดกร่อน และ/หรือเป็นพิษ และก่อมลพิษ |
ชุดป้องกัน
คำแนะนำ | 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ
2.สวมชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีตามข้อแนะนำของบริษัทผู้ผลิต ทั้งนี้ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีไม่สามารถป้องกันอันตรายจากความร้อนสูง 3.ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล |
ข้อควรระวัง | |
Type |
การอพยพ
การรั่วไหลขนาดเล็ก
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) | 0 |
การรั่วไหลขนาดใหญ่
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) | 0 |
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ | 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสาร เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 800 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง |
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 800 |
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร | 800 |
คำแนะนำ |
การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ | |
เพลิงไฟขนาดเล็ก | 1.ผงเคมีแห้ง CO2 หรือฉีดน้ำเป็นฝอย |
เพลิงไฟขนาดใหญ่ | 1.ฉีดน้ำเป็นฝอย หมอก หรือโฟมดับเพลิง
2.เคลื่อนย้ายภาชนะบรรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย 3.สร้างคันกั้นหรือร่องกักน้ำเสียจากการดับเพลิงเพื่อนำไปกำจัดภายหลัง ห้ามทำให้สารกระจาย 4.ฉีดน้ำเป็นฝอย หมอก ห้ามฉีดน้ำเป็นลำตรง |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง | |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า |
กรณีเกิดการหกรั่วไหล
วิธีการเข้าระงับเหตุ | 1.ห้ามส้มผัสภาชนะบรรจุที่เสียหายหรือสารที่หกรั่วไหล หากไม่สวมใส่ชุดป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสม
2. ระงับการรั่วไหลของสาร หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย 3.ห้ามฉีดน้ำเข้าไปภายในภาชนะบรรจุ 4. ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ 5.ปิดทับด้วยแผ่นพลาสติกเพื่อป้องกันการแพร่กระจาย 6.ดูดซับหรือปิดทับด้วยดินแห้ง ทราย หรือวัสดุอื่นที่ไม่ติดไฟแล้วเก็บใส่ภาชนะบรรจุ |
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล | |
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย | |
หกรั่วไหลปริมาณมาก |
การปฐมพยาบาล
คำแนะนำ | 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669 3. ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ 4. ห้ามผายปอดด้วยวิธีการเผ่าปาก หากผู้บาดเจ็บกลืนหรือหายใจรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย ให้ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดมีที่ครอบให้อากาศแบบวาล์วทางเดียว หรืออุปกรณ์ช่วยหายใจอื่นที่เหมาะสม 5. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก 6. ถอดและแยกเก็บเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน 7. ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดยวิธีให้น้ำหลผ่านทันที อย่างน้อย 20 นาที 8.หากผิวหนังสัมผัสกับสารเล็กน้อย ต้องหลีกเลี่ยงมิให้สารแพร่กระจายสัมผัสผิวหนังบริเวณอื่น ๆ 9. รักษาอุณหภูมิร่างกายผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและให้อยู่ในที่สงบ 10. อาการบาดเจ็บจากการสัมผัสกับสาร(หายใจ กิน สัมผัส) อาจเกิดขึ้นช้า (ภายใน 48 ชั่วโมง) เหมาะสม 11. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่าง |
มาตรการกำจัดของเสีย
ในการกำจัดสารติดต่อผู้ให้บริการกำจัดขยะซึ่งมีใบประกอบอาชีพ. ละลายหรือผสมสารกับตัวทำละลายซึ่งไหม้ไฟได้และเผาในเตาเผาสารเคมีซึ่งติดตั้งเครื่องเผาทำลายสารคาร์บอนเพื่อลดมลพิษและเครื่องฟอก. ให้ตรวจสอบข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมของรัฐบาลกลาง, รัฐ และท้องถิ่น |
การทำปฏิกิริยา การระเบิด
ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน
ทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์, โลหะที่เป็นผงละเอียด |
ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์
เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ, อาจก่อให้เกิดผลเสียระยะยาวต่อสภาวะแวดล้อมในน้ำ |