ช้อมูลทั่วไป
ชื่อภาษาไทย | ไนโตรเจน |
ชื่อภาษาอังกฤษ | Nitrogen |
ชื่อทางการค้า | |
ประเภทสารเคมี | 2.2 ก๊าซไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ |
Cas no. | 7727-37-9 |
UN Number | 1066 |
Formula | N2 |
จุดเดือด | -196°C องศาเซลเซียส |
จุดหลอมละลาย | -210°C องศาเซลเซียส |
AEGL1 | - |
AEGL2 | - |
AEGL3 | - |
NFPA |
0
0
0
|
ความอันตราย
กลุ่มสารเคมี | ก๊าซ - เฉื่อย |
Polimerization | ไม่เป็น Polimerization |
สารเคมีมีอันตรายสูงหากสูดดม (Toxic Inhalation Hazard:TIH) | ไม่เป็น |
ก๊าซพิษเมื่่อสารสัมผัสกับน้ำ | |
อัคคีภัยหรือการระเบิด | 1.ก๊าซไม่ไวไฟ 2.ภาชนะบรรจุอาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อน 3.ถังบรรจุก๊าซทรงกระบอกที่ฉีกขาดอาจพุ่งไปในทิศทางต่าง ๆ |
ผลต่อสุขภาพ | 1.ไอสารอาจทำให้เกิดอาการมินศีรษะหรือหายใจไม่ออกโดยไม่รู้ตัว 2.ไอระเหยจากก๊าซเหลว ในขั้นต้นจะหนักกว่าอากาศ และแพร่กระจายไปตามพื้น |
การเข้าระงับเหตุเบื้องต้น
คำแนะนำเบื้องต้น | 1.โทรแจ้งหมายเลขฉุกเฉินที่ระบุในเอกสารกำกับขนส่ง หากไม่พบเอกสาร ฯ หรือ ไม่มีผู้รับสายให้โทรแจ้งหมายเลขที่เหมาะสมที่ระบุอยู่ด้านในปกหลังคู่มือ 2.กั้นแยกพื้นที่ที่สารรั่วไหลทันที่อย่างน้อย 100 เมตร(330 ฟุต) ทุกทิศทาง 3.กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกห่างจากพื้นที่ 4.อยู่เหนือลม 5.ห้ามอยู่ในที่ต่ำ 6. ก๊าซหลายชนิดจะหนักกว่าอากาศและจะแพร่กระจายไปตามพื้น สะสมตัวในที่ต่ำหรือที่อับอากาศ (ท่อระบายน้ำ ห้องใต้ดิน ถึงเก็บ) 7. ระบายอากาศพื้นที่อับอากาศก่อนเข้าระงับเหตุ |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง | 100 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของเหลว | 0 |
กั้นแยกพื้นที่รอบทิศทาง กรณีสารมีสถานะเป็นของแข็ง | 0 |
ชุดป้องกัน
คำแนะนำ | 1.สวมใส่ชุดเครื่องช่วยหายใจส่วนบุคคลแบบมีถังอากาศ 2. ชุดดับเพลิงสามารถป้องกันอันตรายได้อย่างจำกัดเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหม้สารแต่อาจไม่สามารถป้องกันอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพกรณีที่เกิดเฉพาะการหกรั่วไหล |
ข้อควรระวัง | |
Type |
การอพยพ
การรั่วไหลขนาดเล็ก
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) | 0 |
การรั่วไหลขนาดใหญ่
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางวัน (เมตร) | 0 |
เขตป้องกันใต้ลม กลางคืน (เมตร) | 0 |
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
คำอธิบายการอพยพ ในกรณีที่เกิดการลุกไหม้ | 1.หากถังบรรจุขนาดใหญ่ ตู้รถไฟหรือรถบรรทุกสารเกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้กั้นแยกพื้นที่เกิดเหตุ 800 เมตร ( 1 ไมล์) และพิจารณาอพยพประชาชนเบื้องต้น 1,600 เมตร ( 1/2 ไมล์) ทุกทิศทาง |
กั้นเขตอัตรายรอบทิศทาง (เมตร) | 800 |
ระยะอพยพประชาชน ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ หน่วยเป็นเมตร | 800 |
คำแนะนำ | 1.ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิดของเพลิงไหม้โดยรอบ 2.เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย 3.ท่อบรรจุก๊าซทรงกระบอกที่ชำรุดต้องได้รับการจัดการโดยผู้เชี่ยวชาญ |
การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
กรณีเกิดการเพลิงไหม้
ข้อควรระวัง หรือคำเตือน เ | 1.ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิดของเพลิงไหม้โดยรอบ 2.เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย 3.ท่อบรรจุก๊าซทรงกระบอกที่ชำรุดต้องได้รับการจัดการโดยผู้เชี่ยวชาญ |
เพลิงไฟขนาดเล็ก | |
เพลิงไฟขนาดใหญ่ | |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุหรือรถขนส่ง | 1. ฉีดน้ำดับเพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมรหือใช้แท่นฉิดน้ำแทน 2. ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุ จนกว่าเพลิงจะสงบ 3. ห้ามฉีดน้ำไปยังรอยรั่วหรืออุปกรณ์ระบายความดันโดยตรง อาจมีน้ำแข็งเกาะบริเวณดังกล่าว 4. ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันทีหากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี 5. อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุที่ไฟลุกท่วมตลอดเวลา |
เพลิงไหม้ หรือ เกิดอยู่ใกล้ ตู้สินค้า |
กรณีเกิดการหกรั่วไหล
วิธีการเข้าระงับเหตุ | 1. ระงับการรั่วไหลทำโดยไม่เสี่ยงอันตราย 2.ห้าสัมผัสหรือเดินย่ำผ่านบริเวณที่สารหกรั่วไหล 3. หากเป็นไปได้ให้หมุนภาชนะบรรจุจนอยู่ในต่ำแหน่งที่จะมีก๊าซรั่วออกมาเท่านั้น แทนที่จะเป็นของเหลว 4. ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยดักจับกลุ่มไอระเหยสารเพื่อลดความเข้มข้นหรือเปลี่ยนทิศทางไอระเหยแต่พยายามอย่าให้น้ำที่ฉีดไหลไปสัมผัสกับตัวสารที่หกรั่วไหลโดยตรง 5. ห้ามฉีดน้ำใส่สารที่นองพื้นที่่หรือจุดรั่วไหลโดยตรง 6. ห้ามฉีดน้ำใส่สารที่นองพื้นที่หรือจุดรั่วไหลโดยตรง 7.ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณอับอากาศ 8.ปล่อยให้สารระเหยจนหมด 9.ระบายอากาศบริเวณที่เกิดเหตุ |
คำเตือนสำหรับการเข้าระงับเหตุเมื่อเกิดการหกรั่วไหล | |
หกรั่วไหลปริมาณเล็กน้อย | |
หกรั่วไหลปริมาณมาก | พิจารณาอพยพประชาชนใต้ลมอย่างน้อย 100 เมตร (330 ฟุด) |
การปฐมพยาบาล
คำแนะนำ | 1.นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์ 2. โทรแจ้ง 191 หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน 1669 3. ให้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ 4. ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก 5.รักษาร่างกายของผู้บาดเจ็บให้อบอุ่นและอยุ่ในที่สงบ 6. ต้องมั่นใจว่าหน่วยแพทย์ทราบชนิดและอันตรายของสารต่าง ๆ รวมทั้งมีการป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม |
มาตรการกำจัดของเสีย
ทำการดูดระบายอากาศ |
การทำปฏิกิริยา การระเบิด
ข้อมูลสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากัน
ข้อมูลการเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์
มาตรการป้องกัน
เก็บในที่ป้องกันไฟได้หากอยู่ภายในอาคาร เก็บในที่เย็นเก็บในห้องที่มีการระบายอากาศที่มี |